ReadyPlanet.com


กระบวนการบำบัดน้ำเสียแบบใช้ออกซิเจน


กระบวนการบำบัดน้ำเสียแบบใช้ออกซิเจน

การบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพ แบ่งเป็นแบบใช้ออกซิเจน (Aerobic Process) และแบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic Process) ซึ่งแบบใช้ออกซิเจนอาศัยการทำงานของจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเปลี่ยนความสกปรก (สารอินทรีย์) ให้กลายเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และน้ำ (H2O) เช่นในกระบวนการเอเอส ระบบฟิล์มตรึง ระบบโปรยกรอง เป็นต้น ส่วนแบบไม่ใช้ออกซิเจนอาศัยการทำงานของจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนเปลี่ยน ความสกปรก (สารอินทรีย์) ให้กลายเป็น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(CO2) ก๊าซมีเทน(CH4) และก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์(H2S) เช่น ในกระบวนการย่อยไร้ออกซิเจน ถังกรองไร้อากาศ ระบบยูเอเอสบี เป็นต้น

กระบวนการเอเอส (Activated Sludge Process: AS)

กระบวน การเอเอสเป็นกระบวนการบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพแบบใช้ออกซิเจน โดยอาศัยสิ่งมีชีวิตพวกจุลินทรีย์ ทั้งหลายในการย่อยสลาย ดูดซับ หรือเปลี่ยนรูปของมลสารต่างๆ ที่มีอยู่ในน้ำเสียให้มีค่าความสกปรกน้อยลง หลักการทำงานของระบบเอเอสเป็นวิธีที่เลียนแบบธรรมชาติ ปฏิกิริยาชีวเคมีของกระบวนการสามารถเขียนได้ดังนี้

 

แนวคิดบำบัดน้ำเสีย



ผู้ตั้งกระทู้ หนุ่มนิรนาม :: วันที่ลงประกาศ 2023-05-17 16:58:52


แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล 
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล



Copyright © 2010 All Rights Reserved.